การประเมินและวัดผลกระทบทางธุรกิจ

แนวทางการดำเนินงาน


ภาพรวมวิธีการประเมินมูลค่าผลกระทบของ ซีพี ออลล์

1

กรอบ

กรณีศึกษาเชิงธุรกิจสำหรับการประเมินมูลค่าผลกระทบ

2

ขอบเขต

พิจารณาแต่ละองค์ประกอบที่สำคัญเพื่อใช้ในการประเมิน
– ผลกระทบของแต่ละโปรแกรม
– จุดเริ่มต้นของผลกระทบที่พิจารณา
– ขอบเขตของเวลา และภูมิศาสตร์

3

การเลือกตัวบ่งชี้

จำนวนตัวชี้วัดของปัจจัยนำเข้า ผลลัพธ์ และผลกระทบที่คาดไว้

4

แผนงาน

แผนงานที่ดำเนินการรวมถึงการเก็บรวบรวมข้อมูลและเทคนิคพิเศษทางด้านมูลค่า

5

การรวบรวมข้อมูล

การรวบรวมข้อมูลจากตัวชี้วัดที่ได้ตกลงไว้ในขั้นตอนก่อนหน้านี้ ซึ่งรวมถึงข้อมูลปฐมภูมิและทุติยภูมิ

6

การประเมินค่า

การประเมินและวัดผลกระทบหลัก ซึ่งอาจรวมถึงการประเมินรวมกัน ทั้งเชิงคุณภาพ เชิงปริมาณ และตัวเงิน

7

การรายงาน

สิ่งที่เป็นข้อความสำคัญสำหรับผู้รับสารทั้งภายในและภายนอก

8

นำมาใช้

วิธีการบูรณาการการประเมินมูลค่าผลกระทบเชิงธุรกิจ

โครงการกล้วยหอมทอง

โครงการต่อเนื่องส่งเสริมเกษตรกรกล้วยหอมทอง มุ่งดำเนินงานสนับสนุนสินค้าจากเกษตรกรและผู้ประกอบการรายย่อยอย่างต่อเนื่อง เริ่มตั้งแต่การทำสื่อการสอนเพื่อให้ความรู้เกษตรกร ส่งเสริมการปลูกให้เป็นไปตามมาตรฐาน ตรวจสอบย้อนกลับที่มาของผลิตภัณฑ์ได้ ส่งเสริมความรู้เรื่องบรรจุภัณฑ์ การเก็บรักษา ตลอดจนมุ่งเพิ่มช่องทางการกระจายสินค้า ทั้งในรูปแบบออนไลน์และออฟไลน์ผ่านร้าน 7-Eleven และเซเว่น เดลิเวอรี่ (7Delivery)

อบรมให้ความรู้เกษตรกร


ส่งเสริมการเพาะปลูกที่มีมาตรฐาน สามารถตรวจสอบได้

ออกแบบบรรจุภัณฑ์ยืดอายุการเก็บรักษา

ส่งเสริมการแปรรูป


เพิ่มช่องทางการกระจายสินค้า

โครงการกล้วยหอมทองสร้างรายได้ของเกษตรกรและผู้ประกอบการรายย่อยเพิ่มขึ้น เกิดจากการจ้างงานในชุมชนมากยิ่งขึ้น ปัจจุบันโครงการครอบคลุมพื้นที่การเกษตรกว่า 18,165 ไร่ ใน 36 จังหวัด พร้อมกันนี้ ผลการประเมินผลกระทบจากการดำเนินโครงการที่ผ่านมาพบว่าโครงการกล้วยหอมทองก่อให้เกิดผลกระทบเชิงบวกมากกว่าเชิงลบคิดเป็น 202.15 เท่า

รายได้สุทธิเฉลี่ยเพิ่มขึ้นของผู้ประกอบการรายย่อยและเกษตรกรคิดเป็น

3.5  ล้านบาท หรือคิดเป็นร้อยละ  38.02

เปรียบเทียบกับการดำเนินการก่อนเข้าร่วมโครงการกล้วยหอมทองกับบริษัท

จำนวนเกษตรกรที่เข้าร่วมโครงการกล้วยหอมทองกับบริษัท

2515  ราย

(เพิ่มขึ้น ร้อยละ 62.36 เทียบปี 2565)

ผลผลิตกล้วยหอมทองเข้าสู่ตลาดจำนวน

109  ล้านลูกต่อปี

คิดเป็นมูลค่าทางเศรษฐกิจ

994  ล้านบาท

(เพิ่มขึ้น ร้อยละ 21.78 เทียบปี 2565)

การวัดและประเมินผลกระทบ 2556

ผลกระทบด้านเศรษฐกิจ

  • สร้างรายได้ที่มั่นคง
  • เพิ่มมูลค่าสินค้าทางการเกษตร
  • พัฒนามาตรฐานการผลิตสินค้าทางการเกษตร

ผลกระทบด้านสังคม

  • สร้างศูนย์การเรียนรู้การปลูกกล้วย
  • ถ่ายทอดอาชีพ จากรุ่นสู่รุ่น
  • กลุ่มเกษตรกรเข้มแข็ง มีความสามารถในการแข่งขัน
  • สุขภาพที่ดีขึ้นของคนในชุมชนอันเนื่องมาจากการลดการใช้สารเคมี

Output Metric
เกษตรกร ผู้ประกอบการเข้าร่วม
โครงการ 2,515 ราย

ผลกระทบด้านสิ่งแวดล้อม

  • ลดการใช้สารเคมี เพิ่มการใช้สารชีวภาพล
  • ลดการปนเปื้อนและตกค้างของสารเคมีในพื้นที่การเกษตร
  • ลดการใช้น้ำและทรัพยากรอื่นๆ และใช้ให้คุ้มค่าตามหลัก GAP
  • มีการรักษาคุณภาพดินตามหลัก GAP

Output Metric
จำนวนการทิ้งพลาสติกทั้งทางบก และทางทะเล ขยะพลาสติก 228 ตัน ถูกกำจัดทิ้งทั้งทางบกและทางทะเล

คุณค่าทางเศรษฐกิจ

  • พื้นที่เพาะปลูกรวม  109  ล้านลูกต่อปี
  • ผลผลิตกล้วยหอมทองเพิ่มขึ้น  109  ล้านลูกต่อปี คิดเป็นมูลค่าทางเศรษฐกิจ  994  ล้านบาท

คุณค่าทางสังคม

  • สร้างอาชีพให้ชุมชน โดยสนับสนุนให้โรงคัดบรรจุแต่ละภูมิภาครับกล้วยหอมทองจากเกษตรกรในแต่ละพื้นที่ เพื่อเป็นการกระจายรายได้และอาชีพ
  • เพิ่มช่องทางการจำหน่าย โดยสามารถขยายโรงคัดบรรจุครอบคลุมทุกภูมิภาค เพื่อส่งกล้วยหอมทองให้กับร้าน 7-Eleven กว่า 14,545 สาขา คิดเป็นมูลค่า 994 ล้านบาท

Output Metric
รายได้ของผู้เข้าร่วมโครงการเพิ่มขึ้น
เฉลี่ย 3.5 ล้านบาท

คุณค่าทางสิ่งแวดล้อม

  • การใช้สารเคมีที่เหมาะสมในปริมาณในปลอดภัยส่งเสริมการใช้ปุ๋ยชีวภาพและชีวภัณฑ์ ทำให้การใช้สารเคมีกำจัดศัตรูพืชและปุ๋ยเคมีลดลงกว่าร้อยละ 40.7 สามารถลดต้นทุกให้กับเกษตรกร 786.5 บาทต่อไร่
  • ใช้ทรัพยากรอย่างคุ้มค่ามากขึ้น
  • ช่วยรักษาคุณภาพดิน

Output Metric
ขยะพลาสติกปลายน้ำเพิ่มขึ้น ร้อยละ 4
เมื่อเทียบกับปี 2565

การประเมินและวัดผลกระทบทางธุรกิจ

ด้านเศรษฐกิจ

(Total annual net revenue generated from golden banana)

ผลกระทบทางธุรกิจขั้นปลาย
(Downstream Impact)

994 ล้านบาท

ด้านสังคม

(Total annual additional net revenue generated for farmer)

ด้านสังคม

(Total annual societal from
plastic production)

ผลกระทบทางธุรกิจขั้นต้น
(Upstream Impact)

1357 ล้านบาท
2.65 ล้านบาท

ด้านสิ่งแวดล้อม

(Total annual downstream impact from plastic production)

ผลกระทบทางธุรกิจขั้นปลาย
(Downstream Impact)

4.06 ล้านบาท

โครงการกล้วยหอมทองก่อให้เกิด

ผลกระทบเชิงบวก > ผลกระทบเชิงลบ 202.15 เท่า

หมายเหตุ : จำนวนเท่าของผลกระทบคำนวณจากผลกระทบทางสังคมและผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม

เว็บไซต์ cpall.co.th มีการเก็บคุกกี้ซึ่งเป็นการจัดการข้อมูลส่วนบุคคลและช่วยเพิ่มประสิทธิภาพการใช้งานเว็บไซต์ คุณสามารถอ่านข้อมูลเพิ่มเติมได้ที่หน้า นโยบายการใช้คุกกี้

ตั้งค่าความเป็นส่วนตัว

คุณสามารถเลือกการตั้งค่าคุกกี้โดยเปิด/ปิด คุกกี้ในแต่ละประเภทได้ตามความต้องการ ยกเว้น คุกกี้ที่จำเป็น

ยอมรับทั้งหมด
จัดการความเป็นส่วนตัว
  • คุกกี้ที่จำเป็น
    เปิดใช้งานตลอด

    ประเภทของคุกกี้มีความจำเป็นสำหรับการทำงานของเว็บไซต์ เพื่อให้คุณสามารถใช้ได้อย่างเป็นปกติ และเข้าชมเว็บไซต์ คุณไม่สามารถปิดการทำงานของคุกกี้นี้ในระบบเว็บไซต์ของเราได้

  • คุกกี้ในส่วนวิเคราะห์

    คุกกี้ประเภทนี้จะทำการเก็บข้อมูลการใช้งานเว็บไซต์ของคุณ เพื่อเป็นประโยชน์ในการวัดผล ปรับปรุง และพัฒนาประสบการณ์ที่ดีในการใช้งานเว็บไซต์ ถ้าหากท่านไม่ยินยอมให้เราใช้คุกกี้นี้ เราจะไม่สามารถวัดผล ปรับปรุงและพัฒนาเว็บไซต์ได้

บันทึกการตั้งค่า