การมีส่วนร่วมใน SDGs

SDGs and CP ALL

เมื่อวันที่ 25 กันยายน 2558 ผู้นำจากทั่วโลกที่เป็นสมาชิกขององค์การสหประชาชาติกว่า 167 ประเทศได้เข้าร่วมการประชุม UN Summit ที่มหานครนิวยอร์ก ประเทศสหรัฐอเมริกา เพื่อหารือและลงมติร่วมกันต่อการดำเนินการเรื่อง “Transforming Our World: The 2030 Agenda for Sustainable Development” โดยองค์การสหประชาชาติ ได้กำหนดเป้าหมายการพัฒนาขึ้นใหม่ ที่เรียกว่า “เป้าหมายการพัฒนาอย่างยั่งยืน” หรือ Sustainable Development Goals (SDGs) ที่ต่อยอดจาก “เป้าหมายการพัฒนาแห่งสหัสวรรษ” (MDGs) ที่สิ้นสุดลงเมื่อปี 2558 โดย SDGs มุ่งเน้นการพัฒนาในมิติของเศรษฐกิจ สังคม และสิ่งแวดล้อม ให้มีความเชื่อมโยงกัน ประกอบไปด้วย 17 เป้าหมาย ซึ่งจะใช้เป็นเข็มทิศในการพัฒนาตลอดระยะเวลา 15 ปี (เดือนกันยายน 2558 ถึง เดือนสิงหาคม 2573)

เป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืนขององค์การสหประชาชาติ (SDGs)

การที่ทุกฝ่ายให้ความสำคัญต่อแผนงานที่ยิ่งใหญ่และท้าทายสะท้อนถึงความเป็นเอกฉันท์ในทุกๆ ภาคส่วนของสังคม ในขณะที่หนทางการดำเนินงานตามกระบวนการสากลนี้ยังคงอีกยาวไกล แต่ในท้ายที่สุดกระบวนการสากลนี้จะก่อให้เกิดวิสัยทัศน์ร่วม และเป็นพื้นฐานของความสำเร็จในอนาคต

CP ALL ตระหนักดีว่า การดำเนินการเพื่อนำไปสู่เป้าหมายการพัฒนาอย่างยั่งยืนจะต้องเริ่มจากความเสมอภาคและความยั่งยืนจากภายใน ซึ่งบริษัทฯ มีความมุ่งมั่นที่จะสร้างความเป็นอยู่ที่ดีขึ้นไปพร้อมกับการสร้างคุณค่าทางเศรษฐกิจ สังคม และสิ่งแวดล้อม เพื่อการเติบโตที่ยั่งยืน

บริษัทฯ ดำเนินธุรกิจด้วยความรับผิดชอบต่อสังคม และส่งเสริม การมีส่วนร่วมของผู้มีส่วนได้เสียของบริษัทฯ ผ่านกิจกรรมต่างๆ เพื่อประโยชน์ร่วมกันของทุกฝ่ายของทั้งบริษัทฯ ชุมชน ท้องถิ่น และ สังคม โดยแผนการดำเนินธุรกิจของบริษัทฯ มุ่งเสริมสร้างและพัฒนาคุณภาพชีวิต และปกป้องสิ่งแวดล้อมเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืนสอดคล้องกับ SDGs

ความสอดคล้องกับเป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืนขององค์การสหประชาชาติ (SDGs)

การปรับตัวต่อการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ


ประสิทธิภาพการใช้พลังงานและทรัพยากร


การจัดการบรรจุภัณฑ์ที่ยั่งยืน


การจัดการของเสียและอาหารส่วนเกินอย่างยั่งยืน


การปกป้องฟื้นฟูระบบนิเวศและความหลากหลายทางชีวภาพ


การสร้างคุณค่าทางสังคมและการสนับสนุนในระบบเศรษฐกิจ


สนับสนุนการศึกษาและการเรียนรู้ตลอดชีวิต


การเสริมสร้างสุขภาพและสุขภาวะที่ดี


การเข้าถึงอาหารและน้ำที่ปลอดภัยและสุขภาวะที่ดี


ความผูกพันกับผู้มีส่วนได้เสีย


ธรรมาภิบาลและการต่อต้านการทุจริต


เคารพและปฏิบัติตามหลักสิทธิมนุษยชนสากล


การพัฒนาทุนมนุษย์


นวัตกรรมและการสร้างคุณค่า


การจัดการห่วงโซ่อุทานอย่างรับผิดชอบ


การส่งเสริมคุณภาพชีวิตประชาชน


เกษตรกร วิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อม (SMEs) และผู้ประกอบการรายย่อยได้รับการส่งเสริมอาชีพและคุณภาพชีวิต
กลุ่มเปราะบาง ได้รับการส่งเสริมอาชีพและคุณภาพชีวิต
สร้างมูลค่าทางเศรษฐกิจ

สามารถเข้าถึงอาหารที่ปลอดภัย มีคุณค่าทางโภชนาการและเพียงพอ

เข้าถึงบริการสุขภาพที่มีคุณภาพปลอดภัย และมีประสิทธิภาพ

เด็ก เยาวชน แลผู้ใหญ่ที่ได้รับการส่งเสริมการเข้าถึงการศึกษาและพัฒนาทักษะที่จำเป็น
สนับสนุนทุนการศึกษา ระดับอาชีวศึกษาและระดับอุดมศึกษา
มูลค่าการสนับสนุนทุนการศึกษา

พนักงานหญิงต่อผู้บริหารทั้งหมด
พนักงานหญิงต่อผู้บริหารระดับสูงทั้งหมด
33.27  :  35.18

การอนุรักษ์โลก


ปริมาณนำน้ำสุทธิที่นำมาใช้ต่อหน่วยรายได้
ปริมาณการนำน้ำมาใช้ทั้งหมด

การลดปริมาณการใช้พลาสติกบริสุทธิ์ในบรรจุภัณฑ์
บรรจุภัณฑ์พลาสติกที่ผลิตจากวัสดุรีไซเคิล
ลดปริมาณสร้างขยะ จากการนำกลับมาใช้ใหม่ใช้ซ้ำ
ปริมาณของเสียที่นำไปใช้ประโยชน์

ปริมาณการปล่อยก๊าซเรือนกระจก (Scope 1 และ Scope 2) ต่อหน่วยรายได้
ปริมาณการปล่อยก๊าซเรือนกระจกที่ลดได้จากการใช้พลังงานหมุนเวียน
ขึ้นทะเบียนรับรองฉลากสินค้าคาร์บอน (Carbon Footprint Product Label)
ขึ้นทะเบียนฉลากลดการปล่อยคาร์บอน (Carbon Footprint Reduction Label)

ปล่อยลูกปูม้าลงสู่ทะเลเพิ่มความหลากหลาย

ปลูกต้นไม้ฟื้นฟูระบบนิเวศ

การสร้างความเจริญก้าวหน้า


ปริมาณการใช้พลังงานหมุนเวียน
การใช้พลังงานหมุนเวียนจากการใช้พลังงานทั้งหมด

การจ้างงานแรงงานท้องถิ่น ของกลุ่ม ซีพี ออลล์
การจ้างงานผู้พิการ

มูลค่านวัตกรรม
ผลงานนวัตกรรม

กลุ่มเปราะบางได้รับการส่งเสริมอาชีพและคุณภาพชีวิต
มูลค่าการจ้างและสนับสนุนการสร้างรายได้ของกลุ่มเปราะบาง

กลุ่มเปราะบาง หน่วยงานราชการ และชุมน ได้รับการฝึกอบรมฝึกซ้อมดับเพลิงขั้นต้นและการอพยพหนีไฟ รวมถึงการบรรเทาสาธารณภัยที่เกี่ยวกับน้ำ

การสร้างสันติภาพ


  • กำหนดแนวทางปฏิบัติที่สอดคล้องกับบทบัญญัติที่กำหนดว้ในกฎหมายไทย และกฎหมายต่างประเทศที่บริษัทดำเนินการ รวมถึงหลักการชี้แนะว่าด้วยการดำเนินธุรกิจและสิทธิมนุษยชนแห่งสหประชาชาติ (UN Guiding Principles on Business and Human Rights หรือ UNGP)
  • ได้รับการรับรองเป็นสมาชิกแนวร่วมปฏิบัติของภาคเอกชนไทยในการต่อต้านการทุจริต CAC (Collective Action Coalition Against Corruption)
  • ร่วมสนับสนุนคู่ค้าเข้าร่วมเป็นภาคีเครือข่าย CAC

การยกระดับความเป็นหุ้นส่วนเพื่อความร่วมมือ


  • เข้าร่วมเครือข่ายความร่วมมือขององค์กรระดับประเทศและระดับสากล เพื่อร่วมขับเคลื่อนเป้าหมายการพัฒนาอย่างยั่งยืน และส่งเสริมการบริหารจัดการประเด็กสำคัญด้านความยั่งยืนของบริษัท ผ่านการแลกเปลี่ยนข้อมูล การเข้าร่วมแสดงความคิดเห็น การร่วมยกร่างมาตรฐาน การร่วมวางแผน การร่วมขับเคลื่อนโครงการหรือกิจกรรม รวมถึงการร่วมประเมินผล อาทิ สมาคมเครือข่ายโกลบอลคอมแพ็กแห่งประเทศไทย ภาคีเครือข่ายกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม มูลนิธิรักษ์อาหาร มูลนิธิ VV Share Foundation และเครือข่ายอุดมศึกษา เครือข่ายอาชีวศึกษา ทั้งภาครัฐ และเอกชน รวมถึงแนวร่วมต่อต้านคอร์รัปชันของภาคเอกชนไทย

เว็บไซต์ cpall.co.th มีการเก็บคุกกี้ซึ่งเป็นการจัดการข้อมูลส่วนบุคคลและช่วยเพิ่มประสิทธิภาพการใช้งานเว็บไซต์ คุณสามารถอ่านข้อมูลเพิ่มเติมได้ที่หน้า นโยบายการใช้คุกกี้

ตั้งค่าความเป็นส่วนตัว

คุณสามารถเลือกการตั้งค่าคุกกี้โดยเปิด/ปิด คุกกี้ในแต่ละประเภทได้ตามความต้องการ ยกเว้น คุกกี้ที่จำเป็น

ยอมรับทั้งหมด
จัดการความเป็นส่วนตัว
  • คุกกี้ที่จำเป็น
    เปิดใช้งานตลอด

    ประเภทของคุกกี้มีความจำเป็นสำหรับการทำงานของเว็บไซต์ เพื่อให้คุณสามารถใช้ได้อย่างเป็นปกติ และเข้าชมเว็บไซต์ คุณไม่สามารถปิดการทำงานของคุกกี้นี้ในระบบเว็บไซต์ของเราได้

  • คุกกี้ในส่วนวิเคราะห์

    คุกกี้ประเภทนี้จะทำการเก็บข้อมูลการใช้งานเว็บไซต์ของคุณ เพื่อเป็นประโยชน์ในการวัดผล ปรับปรุง และพัฒนาประสบการณ์ที่ดีในการใช้งานเว็บไซต์ ถ้าหากท่านไม่ยินยอมให้เราใช้คุกกี้นี้ เราจะไม่สามารถวัดผล ปรับปรุงและพัฒนาเว็บไซต์ได้

บันทึกการตั้งค่า